:: 普拉崇迪 Pra Somdej Wat Rakhang- King of Thai Buddha Amulets     โดย พร  บางระจัน  

Somdej Ketchaiyo

พระสมเด็จเกศไชโย

FAMOUS AMULET

TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070

 

 

 


 

King of all Thai Amulets  Pra Somdej Wat Rakang by Somdej Pra Puttajarn (Dto) Prohmrangsri.(勇) King of all Thai Amulets  Pra Somdej Wat Rakang by Somdej Pra Puttajarn (Dto) Prohmrangsri.(勇) 

 

King of all Thai Amulets  Pra Somdej Wat Rakang by Somdej Pra Puttajarn (Dto) Prohmrangsri.(勇敢的)

Name of the image of Buddha: Phra Somdej Wat Rakhang  "PIM TAN SAM"
Supporter of casting: Pra Puttajarn (Dto) Prohmrangsri.
Location of Casting or Finding: Wat Bang Khun Prom , Bangkhunprom , Bangkok
Year of Casting: 2400BE
Praise of the image of Buddha: Harmproof , radiating with charm and bring good fortune.

 

King of all Thai Amulets  Pra Somdej Wat Rakang by Somdej Pra Puttajarn (Dto) Prohmrangsri.(聖)

Categories: Phra Somdej Wat Rakhang

Product :000056

Price :30,000,000.00 Baht

Detail:Pra Somdej Wat Rakang by Somdej Pra Puttajarn (Dto) Prohmrangsri

“Phra Somdet 漢字後的誕生”
蒙古國王統治時期第一次被封為僧人以國王的身份“Phra Thammakiti”並擔任Wat Rakang Kositaram的住持當時,他 65 歲,兩年後(公元前 1854 年),他以“Phra Thep Kawee”之名被提升為最高等級的國王,再過 10 年(公元前 1864 年)即為陛下親切地在皇家頭銜“崇迪帕佛禪”中設立崇迪帕蘇攀巴特的稱號
那時,崇迪帕佛贊忠心耿耿自從他在世以來,人們普遍尊重他。從國王到平民用你的行為讓泰國佛教徒尊重他是泰國的仙人
在那個時代,他被稱為“Krua To”,現在人們普遍稱為“Somdet To”或“Somdej Wat Rakhang”。
尊重的不僅僅是泰國人。 Faith Somdet To,但在拉瑪三世、拉瑪五世時代,當時泰國與中國進行貿易許多中國商人來到泰國,他們都尊重崇迪的信仰。
在此期間,崇迪建造並開光了大量的崇迪帕。打算繼承那個佛教這與泰中兩國貿易繁榮的時期相對應。很多華人在泰國定居除了各種類型的帕崇迪在我們看來,那段時間也出現了“漢字排版”。
因為是弘揚佛法和泰國的藝術和文化遠近中國Chao Prakhun Somdej Puttajarn To因此,技師不得不將背面的積木雕刻成各種漢字,如吉祥、祝福、姓氏等,分發給泰國華人。和中國移民在泰國定居信仰佛教和崇迪的人讓他們隨身攜帶,作為國家與中國之間貿易的財富。當返回中國的中國商人帶來許多崇迪帕崇迪時。為他們的孩子收集促進貿易繁榮未歸國的商人,為子孫留下收藏。
"在漢字後鍵入發現於 Phra Somdet
京城
王王
鄭察克里王朝姓鄭(但,泰)
京王王,王鑾,意為國王拉瑪四世的統治時期。
鄭皇(鄭皇),察克里王朝的皇帝,姓鄭(But, Tae)
皇(皇帝)
鄭皇 察克里王朝的皇帝,姓鄭(但是,泰)
花大師或 Phra Ajarn Krua To (Somdej Toh Phromrangsi)
藥藥、草藥
天是天界,是佛教宇宙的淨土。
藥天為天界之藥,佛界聖地。
福福意味著幸福和願望的滿足。通過財富和財富的財富
閆蘇克
益利好運,勝利
橫財貿易,利潤豐厚
榮榮 Roongrote Rungrueng
金萬兩萬金
佛教是神聖的。
祝你好運
而且漢字很多,包括各種姓氏和吉祥字。或者有機會來自任何地方。請收藏並保存。傳給後代學習
“崇迪的信仰和力量這讓中國人尋找他們。”
據推測,Phra Somdet 建於 1863 - 1868 年左右,並在朱拉隆功國王統治期間(1868 年 11 月 11 日)被帶入儀式中。在引入如此重要的皇家儀式時,佛陀的力量被添加的越多。
現在的中國人從古代中國商人帶回中國並傳播佛像的力量,了解Phra Somdet,Wat Rakhang。
有一種說法是一群中國禪修者可以看到未來的事件。早知道會發生嚴重的自然災害有很多生命和財產損失。這種破壞將發生在世界的每一個角落。
修煉者問神聖我怎樣才能擺脫這場災難?因此,答案是一些善良和道德的人將免於這場災難。如果有人經常祈禱和祈禱有數百年曆史的Phra Somdet、Rakhang Temple或Phra Kru。隨身攜帶,你就可以擺脫一定的災難。
這個故事是由佛法修行者和親近他們的人講的。培養來自香港、台灣甚至新加坡的中國人。他們尋找 Phra Somdet,Wat Rakhang 供奉。
Chao Prakun Somdej 的質量和魔粉在他被尊崇的時代在陛下封印佛力的“崇迪帕佛禪”使是否泰國人或者中國人正在尋找崇拜主要物質是貝殼砂漿,主要與其他物質和魔粉混合如下。
1. 用研缽搗碎的水泥殼過篩至細白粉、石灰石、石灰石
2.五佛粉
- Kritiyakom 粉末,安全有效
- 無敵之粉
- Itthijay粉,慈悲的力量
- Trinisinghe粉,大魅力的力量
- 馬哈拉吉之粉,賦能之力,威望
3.各種吉祥植物,Wan Gaysorn 108
4. 來自不同地方的吉祥土,如Soil Chet Pa、Chet Pong、Soil Lak Muang
5.銀沙、金沙
6.木炭粉,破損的葉子乾燒
7、熟米、香蕉、熟菠蘿蜜等各種食物
8. 花粉
9. 佛水
10. 煨甘蔗汁、蜂蜜、香油
11.破壁護身符
12. Phrathat Rae Rattanachat
13.等
佛的功德之力,覆蓋整個宇宙。對有財物的人來說是吉祥的他們有憐憫,大受歡迎,迴避,無敵,防禦。

Phra Somdej 背後的漢字“Khrua Da Su”
Phra Somdet 漢字後,“Khrua Da Su”這個詞,這個。父親得到後才知道閱讀和翻譯。查了資料,發現背面寫著花大師(Khrua Da Su),意為Phra Ajarn Krua To或Somdej Toh Brahmarangsi。
根據過去人們稱Somdej Toh為“Krua To”的信息,當時來貿易的中國人是尊重的。他非常相信佛教和崇迪,所以他用中文博客寫了崇迪的關鍵詞、吉祥語和他自己的家人。留作紀念他們回國後,習慣於自己在泰國傳播和崇拜華人。它被傳遞給下一代以“保存”和繼續佛教。
我父親也相信潮州話。當他們發現自己家的漢字(姓吳)和各種吉祥話收集到一定數量意圖“保護佛教藝術”並傳承給下一代
從用眼睛考慮這尊帕崇德護身符的身體當相機在膨脹時,它在他研究時發現了“塌陷、裂開、皺紋、收縮、枯萎、乾燥”。伴隨著團塊瓦解的痕跡並教作者在考慮印刷之前,先看看已經過去了150多年的僧侶的質量和萎縮因為崇迪有各種各樣的奇怪的印刷品,如果考慮到質量,乾燥度,那是教科書上的。然後考慮打印下一個訂單
此一為正面大印,厚袈裟座,雙臂(臂)細長,左側昂薩(肩)(本尊佛像)斜下,左寫底座。 (最底部的底部)在上角有一個傾斜的塌陷。主佛像右側玻璃罩內的地板有3處材料侵蝕。
佛後印有花大師(Krua Da Su)的印刷機,是崇迪圖的名字。師字上的材料有些雜亂,讓字跡不太清楚。找到愛的枯燥用來塗護身符
“從高倍率相機看在漢字 Krua Da Su 後面的崇迪帕崇迪”
漢字背後還有一個崇迪的原型供我們學習和研究。僧侶有許多不同的種姓,例如 Khun Banhanburakit 家族。 Somdej Toh 的四位祖師之一。崇迪帕佛高沙讚之後(Somdet Phra Samphanthawong 的兒子Krom Khun Isaranurak 王子),現為 Khun Aoi Khun Banharnburakit 家族的後裔繼承了許多帕崇迪尤其是印在漢字之後不同種姓以及各種吉祥話
上師所創、供奉的聖物的“保存佛法”,比看購買價格更重要,“保存”到家族下一代是一種挑戰,也是一種高度的心理考驗。歸根結底,我們應該“保存”它,以便將繁榮和未來傳遞給下一代,作為那個時代泰國佛教繁榮和人民繁榮的“證據和痕跡”。尊重信仰的人

"พระสมเด็จฐานแซม 

รหัสสินค้า: 000056

ราคา: 30,000,000.00

 

รายละเอียด:

“กำเนิด พระสมเด็จ หลังอักษรจีน”
ในรัชสมัยพระบาทสามเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานสมณศักดิ์ถวายพระภิกษุโตเป็นครั้งแรก โดยมีสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะที่ราชทินนาม "พระธรรมกิติ" และดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม ขณะนั้นท่านอายุ ๖๕ ปี อีก ๒ ปีต่อมา (พ.ศ. ๒๓๙๗) ท่านจึงได้รับการเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นผู้ใหญ่ ในราชทินนาม "พระเทพกวี" หลังจากนั้นอีก ๑๐ ปี (พ.ศ. ๒๔๐๗) จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมณศักดิ์ขึ้นสมเด็จพระราชาคณะชั้นสุพรรณบัฏ ในราชทินนาม "สมเด็จพระพุฒาจารย์"
ช่วงเวลานั้นเองเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต ได้เป็นที่เลื่อมใสและศรัทธา เป็นที่เคารพนับถือทั่วไปตั้งแต่ท่านยังมีชีวิตอยู่ นับตั้งแต่พระมหากษัตริย์จนถึงสามัญชน ด้วยปฏิปทาจริยาวัตรของท่าน ทำให้พุทธศาสนิกชนชาวไทยเคารพนับถือว่าท่านเป็นอมตะเถราจารย์รูปหนึ่งของเมืองไทย
ในยุคสมัยนั้นเรียกท่านว่า "ขรัวโต" ส่วนในปัจจุบันคนนิยมเรียกว่า "สมเด็จโต" หรือ "สมเด็จวัดระฆัง"
ไม่ใช่แค่คนไทยเท่านั้นที่เคารพ ศรัทธาสมเด็จโต หากแต่ในยุค ร.3-ร.5 ที่ประเทศไทยทำการค้ากับชาวจีน และพ่อค้าชาวจีนเดินทางมาเมืองไทยมากมายก็ล้วนแต่เคารพศรัทธาสมเด็จฯ แทบทั้งสิ้น
ในช่วงที่สมเด็จได้สร้างและปลุกเสกพระสมเด็จเป็นจำนวนมาก เพื่อตั้งใจสืบทอดพระพุทธศาสนานั้น ตรงกับช่วงที่การค้าของชาวไทยและจีนเจริญรุ่งเรือง และชาวจีนมากมายมาตั้งรกรากในประเทศไทย นอกจากพระสมเด็จพิมพ์ต่างๆ ที่ปรากฏให้เราเห็นแล้วนั้น ยังมี “พิมพ์หลังอักษรจีน” เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นด้วย
เนื่องจากเป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และศิลปวัฒนธรรมไทยให้กว้างไกลไปยังประเทศจีน เจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต จึงให้ช่างแกะบล็อกที่ด้านหลังเป็นอักษรจีนต่างๆ ทั้งคำมงคล คำอวยพร แซ่ ฯลฯ เพื่อแจกจ่ายให้ชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวจีนที่อพยพมาตั้งหลักปักฐานในเมืองไทย ที่มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนาและสมเด็จโต ให้พวกเขาพกติดตัวเป็นสิริมงคลในการทำมาค้าขายระหว่างประเทศและประเทศจีน เมื่อพ่อค้าชาวจีนที่เดินทางกลับไปยังประเทศจีนก็ได้นำพระสมเด็จกลับไปด้วยจำนวนมาก เพื่อเก็บสะสมไว้ให้กับลูกหลาน และเสริมสร้างความเป็นสิริมงคลในการค้าขาย ส่วนพ่อค้าที่ไม่กลับประเทศก็เก็บสะสมเอาไว้ให้กับลูกหลานของตน
“พิมพ์หลังอักษรจีน ที่ค้นพบในพระสมเด็จ”
京 เมืองหลวง
王 พระมหากษัตริย์
鄭 ราชวงศ์จักรี แซ่เจิ้ง (แต่, แต้)
京 王 พระมหากษัตริย์ วังหลวง หมายถึง รัชกาลที่ 4
郑皇 (鄭皇) พระมหากษัตริย์จักรพรรดิแห่งราชวงศ์จักรี แซ่เจิ้ง (แต่, แต้)
皇 พระมหากษัตริย์(จักรพรรดิแห่ง)
鄭皇 พระมหากษัตริย์จักรพรรดิแห่งราชวงศ์จักรี แซ่เจิ้ง (แต่, แต้)
花大師 หรือ พระอาจารย์ขรัวโต(สมเด็จฯโต พรหมรังสี)
药 ยา การรักษาด้วยสมุนไพร
天 เป็นโลกสวรรค์และดินแดนบริสุทธิ์พุทธจักรวาล
药天 เป็นยาของโลกสวรรค์และดินแดนบริสุทธิ์พุทธจักรวาล
福 ฮก หมายถึง มีความสุขได้สมตามปรารถนา ทั้งความร่ำรวยโดยโภคทรัพย์สมบัติและบริวารสมบัติ
富裕苏克 มั่งมี ศรีสุข
益利โชคดี มีชัย
横财 ค้าขาย กำไรงาม
荣 รุ่งโรจน์ รุ่งเรือง
黄金万两 ทองคำหมื่นชั่ง
佛教圣พระพุทธศาสนาเป็นสิ่งศักดิ์สิทธ์
吉吉 โชคดี
และยังมีตัวอักษรจีนอีกมากมาย ทั้งแซ่ต่างๆ และคำมงคล ทั้งนี้ถ้าท่านมีโอกาสได้ครอบครองไม่ว่าจะเป็นการส่งต่อจากตระกูล หรือมีโอกาสได้มาจากที่ไหนก็ตาม ขอให้เก็บสะสมและอนุรักษ์เอาไว้ เพื่อส่งต่อให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ต่อไป
“ความศรัทธาและพลังพุทธคุณพระสมเด็จ ที่ทำให้ชาวจีนต่างตามหา”
มีการคาดเดาว่า พระสมเด็จ หลังอักษรจีน ได้สร้างราวๆ ปี 2406 - 2411 และได้นำเข้าพิธีในวาระที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์ (11 พ.ย.2411) นอกจากพลังพุทธคุณในองค์พระสมเด็จที่ล้นปรี่แล้ว เมื่อนำเข้าพระราชพิธีสำคัญๆ เช่นนี้ ยิ่งอัดพลังพุทธคุณให้เต็มเปี่ยมเข้าไปอีก
ชาวจีนในปัจจุบัน รู้จักพระสมเด็จ วัดระฆัง จากการที่พ่อค้าชาวจีนยุคก่อนได้นำกลับไปยังประเทศจีนและเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักถึงพลังพุทธคุณในองค์พระสมเด็จ
มีคำบอกเล่าว่า กลุ่มชาวจีนที่ปฏิบัติธรรมสามารถมองเห็นเหตุการณ์ในอนาคต ได้ล่วงรู้ได้ว่าจะเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างรุนแรง มีการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินมากมาย ความเสียหายนี้จะเกิดขึ้นทุกมุมโลก
ผู้ปฎิบัติ ถามสิ่งศักดิ์สิทธิ์ว่า ทำยังไงถึงจะพ้นภัยนี้ได้ จึงได้คำตอบว่า คนดีมีศีลธรรมส่วนหนึ่งจะพ้นจากภัยพิบัตินี้ ถ้าใครได้สวดมนต์ภาวนาอยู่เป็นประจำ และมีพระสมเด็จ วัดระฆัง หรือ พระกรุอายุหลายร้อยปี พกติดตัวก็จะพ้นจากภัยพิบัตินั้นได้ประมาณหนึ่ง
เรื่องนี้เองมีการบอกต่อในผู้ปฏิบัติธรรมและผู้ใกล้ชิด ทำให้ชาวจีนทั้งจากแผ่นดินใหญ่ ฮ่องกง ไต้หวันหรือแม้แต่สิงคโปร์ ต่างค้นหาพระสมเด็จ วัดระฆัง เอาไว้บูชา
มวลสารและผงวิเศษของเจ้าประคุณสมเด็จฯ ในยุคที่ท่านมีสมณศักดิ์เป็น “สมเด็จพระพุฒาจารย์” ที่ผนึกพลังพุทธคุณในพระสมเด็จ ทำให้ไม่ว่าจะชาวไทย หรือชาวจีนต่างค้นหามาเพื่อบูชา มีมวลสารหลักคือ ปูนเปลือกหอย เป็นหลัก ผสมเข้ากับมวลสารและผงวิเศษอื่นๆ ดังต่อไปนี้
1. ปูนเปลือกหอยที่ตำในครก ผ่านตระแกรงร่อนจนได้ผงขาวละเอียด หินปูน ปูนเพชร
2. ผงพุทธคุณทั้ง 5
- ผงกฤติยาคม อนุภาพในทางแคล้วคลาดปลอดภัย
- ผงปถมัง อานุภาพคงกระพันชาตรี
- ผงอิทธิเจ อานุภาพทางเมตตามหานิยม
- ผงตรีนิสิงเห อนุภาพทางมหาเสน่ห์
- ผงมหาราช อนุภาพทางเสริมอำนาจ บารมี
3. ไม้มงคลต่างๆ ว่านเกษร 108
4. ดินมงคลจากที่ต่างๆ เช่น ดินเจ็ดป่า เจ็ดโป่ง ดินหลักเมือง
5. ทรายเงิน ทรายทอง
6. ผงถ่าน คำภีร์ใบลานจารย์ที่ชำรุด นำมาตากแห้งและเผา
7. กระยาหารต่างๆ เช่น ข้าวสุก กล้วย ขนุนสุก
8. เกสรดอกไม้
9. น้ำพุทธมนต์
10. น้ำอ้อยเคี่ยว น้้ำผึ้ง น้ำมันตังอิ๊ว
11. เศษพระกำแพงหัก
12. พระธาตุ แร่ รัตนชาติ
13. ฯลฯ
พลังพุทธคุณของพระสมเด็จครอบทั้งจักรวาล และเป็นสิริมงคลกับผู้ที่ได้ครอบครอง มีทั้งเมตตามหานิยม แคล้วคลาด อยู่ยงคงกระพัน ป้องกัน

พระสมเด็จ หลังอักษรจีน “ขรัวต้าซือ”
พระสมเด็จ หลังอักษรจีน คำว่า “ขรัวต้าซือ” องค์นี้เอง คุณพ่อเพิ่งทราบคำอ่าน และคำแปล หลังจากที่ได้มาเรียบร้อยแล้ว ค้นข้อมูลก็พบว่า อักษรด้านหลัง เขียนว่า 花大師 (ขรัวต้าซือ) แปลว่า พระอาจารย์ขรัวโต หรือ สมเด็จฯโต พรหมรังสี
ตามข้อมูลที่บอกว่า คนในยุคก่อน เรียกสมเด็จฯโต ว่า “ขรัวโต” และชาวจีนที่เข้ามาทำการค้าในสมัยนั้นให้ความเคารพ ศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาและสมเด็จฯ มาก จึงได้ทำบล็อกพระสมเด็จที่เป็นภาษาจีน ด้วยคำสำคัญ คำมงคล และตระกูลของตัวเอง เอาไว้เป็นที่ระลึก เมื่อกลับไปยังบ้านเมืองตนก็นำไปเผยแพร่ บูชา ส่วนชาวจีนในประเทศไทยเอง ก็ส่งต่อไปยังรุ่นลูกหลาน เพื่อ “อนุรักษ์” และสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป
คุณพ่อเองก็มีเชื่อสายจีนแต้จิ๋วเช่นกัน เมื่อได้พบอักษรจีนที่เป็นตระกูลของตน (แซ่โง้ว) และคำมงคลต่างๆ ก็เก็บสะสมมาจำนวนหนึ่ง โดยมีเจตนาในการ “อนุรักษ์พุทธศิลป์” และสืบทอดไปยังลูกหลานต่อไป
จากการพิจารณาเนื้อพระสมเด็จชุดนี้แล้วด้วยสายตา และกล้องกำลังขยาย ก็พบความ “ยุบ แยก ย่น หด เหี่ยว แห้ง” ตามที่ท่านศึกษา พร้อมทั้งร่องรอยการหลุดร่อนของมวลสาร และสอนให้ผู้เขียนดูเรื่องมวลสาร และความแห้ง เหี่ยว ของพระที่ผ่านกาลเวลามากว่า 150 ปี ก่อนที่จะพิจารณาถึงพิมพ์ทรง เนื่องจากพระสมเด็จ มีพิมพ์ทรงที่หลากหลาย และแปลกๆ ถ้าพิจารณามวลสาร ความแห้ง แล้วว่าเข้าตามตำรา ก็พิจารณาพิมพ์ทรงลำดับต่อไป
องค์นี้เอง ด้านหน้าเป็นพิมพ์ใหญ่ ชายจีวรหนา เกศจรดซุ้ม พระกร (แขน) เรียวทั้ง 2 ข้าง พระอังสา (ไหล่) ด้านซ้าย (พระประธาน) เอียงลาดลง ฐานเขียนทางด้านซ้าย (ฐานชั้นล่างสุด) มีความยุบเอียงในมุมบน มีรอยหลุดร่อนของมวลสาร 3 จุด ในพื้นภายในซุ้มครอบแก้วด้านขวาพระประธาน
ด้านหลังองค์พระ มีการกดพิมพ์เป็นอักษรจีนคำว่า 花大師 (ขรัวต้าซือ) ซึ่งเป็นชื่อเรียกของสมเด็จฯโต มีการหลุดร่อนของมวลสารตรงอักษรคำว่า 師 ทำให้เห็นคำไม่ค่อยชัดเท่าไหร่ พบความแห้งของรักต่างๆ ที่ใช้ในการเคลือบผิวพระ
“ส่องพระสมเด็จ หลังอักษรจีน ขรัวต้าซือ จากกล้องกำลังขยายสูง”
ยังคงมีต้นแบบของพระสมเด็จ หลังอักษรจีน ให้เราได้เรียนรู้และศึกษา โดยมีวรรณะสีของพระที่แตกต่างกันไปมากมาย เช่น ตระกูลขุนบรรหารบุรกิจ หนึ่งในสี่ต้นตระกูลที่ได้รับแบ่งมอบพระสมเด็จของสมเด็จฯโต ต่อจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์เจริญ (พระโอรสในสมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์) ปัจจุบันคุณอ้อย ลูกหลานของตระกูลขุนบรรหารบุรกิจ ก็ได้สืบทอดพระสมเด็จมากมาย โดยเฉพาะพิมพ์หลังอักษรจีน ที่มีวรรณะสีต่างๆ และหลากหลายคำมงคล
“การอนุรักษ์พุทธศิลป์” ของวัตถุมงคลที่เกจิอาจารย์เราเป็นผู้สร้างและปลุกเสกเป็นสิ่งที่สำคัญมากกว่าการดูเรื่องราคาซื้อขาย และการ “รักษา” จนถึงรุ่นลูกหลานของตระกูลเป็นสิ่งที่ท้าทายและทดสอบจิตใจสูง ที่สุดแล้วเราควร “อนุรักษ์” เพื่อส่งต่อความเจริญรุ่งเรืองและความเป็นมาไปยังรุ่นลูกหลานต่อไป เพื่อเป็น “หลักฐานและร่องรอย” ความเจริญของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ในยุคนั้นๆ และความเป็นสิริมงคลที่เกิดกับตัวผู้ที่เคารพ ศรัทธา

@--------------------- ขอบคุณครับ ---------------------@

--------- เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ ---------
--------------- พร บางระจัน 081-7842076 -----------------

 
PRASOMDEJ WAT RAKING AMULET|CHIANGMAI OFFICE
236/2 Moo. 5 Chiang Mai - Lumphun Rd T. Yangneung A. Sarapee Chiang Mai 50140
Tel 66-093-3361995 WhatsApp 66-66-93-3361995

https://www.prasomdejwatrakang.com  Email: 
palakname@hotmail.com
พระสมเด็จวัดระฆัง | โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-66-093-3361995  whatapp:0933361995
https://www.prasomdejwatrakang.com   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
[copyright.htm]